เมื่อถึงคราวใช้งานบนเครือข่าย การคำนวณบนเครือข่ายย่อมต้องอาศัยการรับส่งข้อมูลระหว่างกัน บางแห่งมีการตั้งเป็นฟาร์มของเซิร์ฟเวอร์เรียกว่า เซิร์ฟเวอร์ฟาร์ม เซิร์ฟเวอร์เหล่านี้ดูแลฮาร์ดดิสค์หรือที่เก็บของตนเอง ดังนั้นเมื่อทำงานร่วมกันบนเครือข่ายก็จะมีการส่งผ่านข้อมูลระหว่างกันและโอนย้ายข้อมูลระหว่างกัน ใช้เวลานานมาก การจัดการข้อมูลที่มีขนาดใหญ่และส่งผ่านกัน ย่อมเกิดปัญหาในเรื่องการโอนย้ายผ่านเครือข่าย โดยเฉพาะช่องการส่งข้อมูลอาจมีจำกัด เช่น ระบบ SCSI ที่มีแถบจำกัด
3
My Slideshow: Me’s trip from กรุงเทพมหานคร (กทม.), ไทย to was created by TripAdvisor. See another ไทย slideshow. Take your travel photos and make a slideshow for free.
วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2554
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
คอมพิวเตอร์ (อังกฤษ : computer) หรือในภาษาไทยว่า คณิตกรณ์ คือ เครื่องมือหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ที่มีความสามารถในการคำนวณอัตโนมัติตามคำสั่ง ส่วนที่ใช้ประมวลผลเรียกว่าหน่วยประมวลผล ชุดของคำสั่งที่ระบุขั้นตอนการคำนวณเรียกว่าโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ผลลัพธ์ที่ได้ออกมานั้นอาจเป็นได้ทั้ง ตัวเลข ข้อความ รูปภาพ เสียง หรืออยู่ในรูปอื่น ๆ อีกมากมาย
ลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มากจนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสำคัญ ซึ่งมักจะแปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเรียกว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้กับการคำนวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาดรองลงมาเรียกว่า เมนเฟรม มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรมทางธุรกิจจำนวนมากๆ สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคลเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้เรียกว่า พีดีเอ อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์หลายๆชนิดได้นำคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทำงาน เช่น กล้องดิจิทัล เครื่องเล่นเอ็มพีสาม หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องยนต์
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์โดยรวมแล้ววัดกันที่ความเร็วการประมวลผล ซึ่งตามกฏของมัวร์ (Moore's Law) คอมพิวเตอร์จะเพิ่มประสิทธิภาพเป็นเท่าทวีคูณในทุกปี
ลักษณะทางกายภาพของคอมพิวเตอร์นั้นมีหลากหลาย มีทั้งขนาดที่ใหญ่มากจนต้องใช้ห้องทั้งห้องในการบรรจุ และขนาดเล็กจนวางได้บนฝ่ามือ การจัดแบ่งประเภทของคอมพิวเตอร์สามารถจัดแบ่งได้ตามขนาดทางกายภาพเป็นสำคัญ ซึ่งมักจะแปลผันกับประสิทธิภาพความเร็วในการประมวลผล โดยขนาดคอมพิวเตอร์ที่มีขนาดใหญ่ที่สุดเรียกว่า ซูเปอร์คอมพิวเตอร์ ใช้กับการคำนวณผลทางวิทยาศาสตร์ ขนาดรองลงมาเรียกว่า เมนเฟรม มักใชัในบริษัทขนาดใหญ่ที่ต้องมีการประมวลผลธุรกรรมทางธุรกิจจำนวนมากๆ สำหรับคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้ในระดับบุคคลเรียกว่า คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล และคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลที่พกพาได้เรียกว่า คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค ส่วนคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่สามารถวางบนฝ่ามือได้เรียกว่า พีดีเอ อย่างไรก็ตามคอมพิวเตอร์มีใช้กันอย่างกว้างขวางมาก ซึ่งมีอุปกรณ์หลายๆชนิดได้นำคอมพิวเตอร์ไปใช้เป็นกลไกหลักในการทำงาน เช่น กล้องดิจิทัล เครื่องเล่นเอ็มพีสาม หรือในรถยนต์เองก็มีคอมพิวเตอร์ที่ใช้ช่วยในการตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องยนต์
ประสิทธิภาพของคอมพิวเตอร์โดยรวมแล้ววัดกันที่ความเร็วการประมวลผล ซึ่งตามกฏของมัวร์ (Moore's Law) คอมพิวเตอร์จะเพิ่มประสิทธิภาพเป็นเท่าทวีคูณในทุกปี
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
ในระบบคอมพิวเตอร์แบ่งส่วนประกอบออกเป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ และระบบการสั่งงานคอมพิวเตอร์
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ที่นิยมเรียกว่า ฮาร์ดแวร์ (hardware) หมายถึงอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์และเครื่องกลต่าง ๆ สวนระบบการสั่งงานคอมพิวเตอร์ที่นิยมเรียกว่า ซอฟต์แวร์ (software) หมายถึงชุดคำสั่งต่าง ๆ ที่จำเป็น ซึ่งจะทำให้อุปกรณ์ทางส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์เหล่านี้ ทำงานตามที่ต้องการได้ ระบบคอมพิวเตอร์ที่รู้จักกันโดยทั่วไป เป็นระบบที่เหมาะสำหรับงานธุรกิจและงานสำนักงาน ซึ่งมีรายละเอียดของส่วนประกอบในแต่ละประเภทโดยย่อดังนี้
ประเภทส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยหน่วยแสดงภาพ (display unit) แป้นพิมพ์อักษร (keyboard) ส่วนประมวลผลกลางหรือที่เรียกย่อ ๆ กันว่าซีพียู (central processing unit or CPU) หน่วยความจำ (memory) ต่าง ๆ ได้แก่ รอม (ROM) แรม (RAM) และแผ่นจานแม่เหล็ก (floppy diskette) พร้อมเครื่องขับ (disk drive) และเครื่องพิมพ์ตัวอักษร (printer) เป็นต้น
ประเภทระบบการสั่งงานคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วยชุดคำสั่งจัดระบบงาน (operating system) ชุดคำสั่งสำเร็จรูปสำหรับงานต่าง ๆ เช่น งานพิมพ์หนังสือ (wordprocessing) งานทำตารางบัญชี (spread sheet) งานเก็บข้อมูลในรูปของฐานข้อมูล และอื่น ๆ
ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับช่วยในงานออกแบบ จะต้องมีส่วนประกอบหลักแบบเดียวกันระบบที่ใช้กับงานธุรกิจหรืองานสำนักงานทั่วไป และยังต้องใช้ส่วนประกอบบางชิ้นที่มีขีดความสามารถพิเศษเพิ่มขึ้นอีกด้วย ระบบคอมพิวเตอร์สำหรับช่วยในงานออกแบบที่มีขีดความสามารถครบถ้วนจะต้องเป็นระบบที่ช่วยเขียนแบบและวิเคราะห์งานออกแบบได้ด้วย ส่วนประกอบเพิ่มเติมที่สำคัญมีดังนี้
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
ชั้นที่ 1 เป็นศูนย์การศึกษาคอมพิวเตอร์เกษตรศาสตร์-คอมแพค ซึ่ง ประกอบด้วยห้องอบรมคอมพิเตอร์สามห้อง แต่ละห้องจะมีพีซีเซอร์ฟเวอร์และ SCO UNIX เซอร์ฟเวอร์และต่อเชื่อมเป็นเครือข่ายเพื่อใช้ในการฝึกอบรมเครือข่ายที่ต่อ ใช้เคเบิลแบบ UTP เชื่อมโยงเข้าสู่แผงแพตช์ และมีฮับที่เป็น 10 BASET เชื่อม โยงตามมาตรฐาน 802.3 และเชื่อมโยงเข้าสู่เราเตอร์
ชั้นที่ 2 เป็นส่วนบริการการเรียนการสอนของมหาวิทยลัย ประกอบด้วย เครื่องหลักหลายตัวและสถานีงาน (Engineering Workstation) จำนวน 20 เครื่อง PC ที่เป็นเทอร์มินัลอีกประมาณ 150 เครื่อง สำหรับ PC ส่วนหนึ่งต่อกับ พอร์ต RS232C เข้าสู่เทอร์มินัลเซอร์ฟเวอร์ สำหรับอีกส่วนหนึ่งต่อในรูปแบบ 10 BASET เข้าสู่ฮับกลางที่เชื่อมโยงกับไฟล์เซอร์ฟเวอร์เพื่อต่อกับเราเตอร์ ผู้ใช้ PC สามารถเลือกใช้ Telnet ผ่านเข้าสู่เครื่องด้วยโปรโตคอล TCP/IP หรือ logon Netware Host หรือจะใช้เป็น PC ของตัวเองก็ได้
คอมพิวเตอร์และระบบคอมพิวเตอร์
คือลักษณะทางกายของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซึ่งหมายถึงตัวเครื่องคอมพิวเตอร์ และ อุปกรณ์รอบข้าง (peripheral) ที่เกี่ยวข้อง เช่น ฮาร์ดดิสก์ เครื่องพิมพ์ เป็นต้น ฮาร์ดแวร์ประกอบด้วย 1.1 หน่วยรับข้อมูล ( input unit ) 1.2 หน่วยประมวลผลกลาง ( central processor unit ) หรือ CPU 1.3 หน่วยความจำหลัก 1.4 หน่วยแสดงผลลัพธ์ (output unit ) 1.5 หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง (secondary storage unit )
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนำไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์หน่วยความจำหลัก จะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจำหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจำหลักมาก
หน่วยรับข้อมูล จะเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับข้อมูลต่าง ๆ เข้าสู่คอมพิวเตอร์ จากนั้น หน่วยประมวลผลกลาง จะนำไปประมวลผล และแสดงผลลัพธ์ที่ได้ออกมากให้ผู้ใช้รับทราบทาง หน่วยแสดงผลลัพธ์หน่วยความจำหลัก จะทำหน้าที่เสมือนเก็บข้อมูลชั่วคราวที่มีขนาดไม่สูงมากนัก การที่ฮาร์ดแวร์จะทำหน้าที่ได้มีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ใช้ ส่วนการทำงานได้มากน้อยเพียงใด จะขึ้นอยู่กับหน่วยความจำหลักของเครื่องนั้น ๆ ข้อเสียของหน่วยความจำหลักคือ หากปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ที่อยู่ในหน่วยความจำหลักจะหายไป ในขณะที่ข้อมูลอยู่ที่ หน่วยเก็บข้อมูลสำรอง จะไม่สูญหายตราบเท่าที่ผู้ใช้ไม่ทำการลบข้อมูลนั้น รวมทั้งหน่วยเก็ยข้อมูลสำรองยังมีความจุที่สูงมาก จึงเหมาะสำหรับการเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือเก็บข้อมูลไว้ใช้ในภายหลัง ข้อเสียของหน่วยเก็บข้อมูลสำรองคือการเรียกใช้ข้อมูลจะช้ากว่าหน่วยความจำหลักมาก
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)